ความยั่งยืน

ผลการดำเนินงานด้านความยั่งยืน

ความยั่งยืน

ผลการดำเนินงานด้านความยั่งยืน


ข้อมูลในด้านต่างๆ ช่วงปี 2564-2567


ด้านการกำกับดูแล ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ด้านทรัพยากรบุคคล ขอบเขตของการรายงานข้อมูล



ด้านเศรษฐกิจ

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2666
2567
GRI 201-1 มูลค่าเชิงเศรษฐกิจทางตรง
รายได้จากการขายและการให้บริการ ล้านบาท 2,258,818 3,367,203 3,144,884 3,090,453
รายได้จากยอดขายสุทธิบวกรายได้จากการลงทุนทางการเงินและการขายสินทรัพย์ [5] ล้านบาท 2,260,522 3,373,477 3,165,403 3,120,963
มูลค่าเชิงเศรษฐกิจที่ถูกแจกจ่าย
ต้นทุนในการดำเนินการ ล้านบาท 1,882,252 2,906,726 2,769,497 2,755,320
ค่าตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน [1] ล้านบาท 9,286 9,993 10,438 11,160
การจ่ายเงินปันผลสำหรับผลการดำเนินงานประจำปี ล้านบาท 57,126 57,126 57,126 59,983 [2]
การลงทุนทางสังคม ล้านบาท 1,271 1,086 1,019 1,066
มูลค่าทางเศรษฐกิจสะสม ล้านบาท 241,293 301,810 282,617 195,714
GRI 201-4 ภาษี
สิทธิพิเศษทางภาษีจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (สกท.) ประเทศไทย [3] ล้านบาท 0 [4] [4] [4] [4]
GRI 201-1
GRI 207-4 (2019)
การจ่ายภาษีเงินได้ ล้านบาท 67,591 90,462 81,313 67,210
ความสามารถในการสำรอง LNG ล้านตัน 14 14 14 14

หมายเหตุ:

 [1] พนักงานที่บริหารจัดการค่าจ้างโดย ปตท. ประกอบด้วย พนักงาน ปตท. (รวมพนักงานที่ไปปฏิบัติงาน Secondment ในบริษัทในกลุ่ม ปตท.) พนักงานบริษัทย่อยและพนักงานกิจการที่ควบคุมร่วมกันของ ปตท. แต่ไม่รวมประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารระดับสูง โดยค่าตอบแทนของพนักงาน ประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และอื่น ๆ (ถ้ามี)
[2] การอนุมัติจ่ายเงินปันผลสำหรับผลการดำเนินงานปี 2567 ต้องนำเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2568 ของบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
[3] จำนวนสิทธิพิเศษทางภาษีฯ ของปตท. เท่านั้น
[4] สิทธิพิเศษทางภาษีจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (สกท.) ประเทศไทย ของ ปตท. สิ้นสุดการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตั้งแต่ปี 2561
[5] ข้อมูลประกอบด้วยรายได้จากการขายและการให้บริการ เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ และ กำไร(ขาดทุน) จากการจำหน่ายสินทรัพย์และเงินลงทุนรวมกัน



ด้านทรัพยากรบุคคล

ข้อมูลสำหรับรายงานความยั่งยืน: บุคลากร ปตท.

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
ชาย
หญิง
ชาย
หญิง
ชาย
หญิง
ชาย
หญิง
GRI 2-7 พนักงานประจำ กำลังคน 2,189 1,362 2,184 1,356 2,202 1,372 2,224 1,381
พนักงานประจำแบ่งตามพื้นที่
• กรุงเทพมหานคร กำลังคน 1,037 1,150 1,040 1,140 1,038 1,157 1,054 1,168
• อื่นๆ [2] กำลังคน 1,137 197 1,132 201 1,149 201 1,152 201
• ต่างประเทศ กำลังคน 15 15 12 15 15 14 18 12
GRI 2-8 การจ้างบุคคลภายนอก [1] กำลังคน 1,054 1,072 1,077 1,037
GRI 202-1 อัตราส่วนเงินเดือนแรกเข้าตามเพศต่อค่าจ้างขั้นต่ำตามพื้นที่
 • กรุงเทพมหานคร อัตราส่วน 2.37 2.03 2.21 2.39 2.34 1.91 2.31 2.31
 • อื่นๆ [2] อัตราส่วน 1.27 2.68 1.20 2.38 1.20 2.22 1.24 2.33
GRI 401-1  พนักงานใหม่ทั้งหมด กำลังคน 129 125 128 119
พนักงานใหม่ กำลังคน 79 50 74 51 70 58 72 47
อัตราการว่าจ้างพนักงานใหม่ ร้อยละ 2.22 1.41 2.09 1.44 1.96 1.62 2.00 1.30
พนักงานใหม่แบ่งตามพื้นที่
• กรุงเทพมหานคร กำลังคน 30 37 39 36 29 47 32 39
ร้อยละ 0.84 1.04 1.10 1.02 0.81 1.32 0.89 1.08
• อื่นๆ [2] กำลังคน 49 13 35 15 41 11 40 8
ร้อยละ 1.38 0.37 0.99 0.42 1.15 0.31 1.11 0.22
พนักงานใหม่แบ่งตามอายุ
• อายุ 50 ปีขึ้นไป กำลังคน 1 0 1 0 2 1 2 0
ร้อยละ 0.03 0.00 0.03 0.00 0.06 0.03 0.06 0.00
• อายุ 30-50 ปี กำลังคน 7 10 8 7 13 14 6 12
ร้อยละ 0.20 0.28 0.23 0.20 0.36 0.39 0.17 0.33
• อายุต่ำกว่า 30 ปี กำลังคน 71 40 65 44 55 43 64 35
ร้อยละ 2.00 1.13 1.84 1.24 1.54 1.20 1.78 0.97
การสรรหาบุคลากร  ร้อยละ 78.00 71.12 81.19 80.00
เป้าหมายร้อยละ 81.00 81.00 81.00 81.00
อัตราการทดแทนตำแหน่งว่างจากการสรรหาภายใน ร้อยละ 90.47 88.38 87.55 90.58
การลาออกของพนักงานทั้งหมด กำลังคน 86 111 94 80
อัตราการลาออกของพนักงานทั้งหมด ร้อยละ 2.42 3.14 2.63 2.22
อัตราการลาออกของพนักงานทั้งหมด แยกเพศ ร้อยละ 0.37 0.45 1.05 1.70 1.45 1.18 1.36 0.86
อัตราการลาออกของพนักงานทั้งหมด แยกอายุ
• มากกว่า 50 ปี ร้อยละ 0.17 1.95 1.59 1.64
• 30 – 50 ปี ร้อยละ 0.54 0.91 0.76 0.42
• น้อยกว่า 30 ปี ร้อยละ 0.11 2.79 0.28 0.17
อัตราการลาออกของพนักงานโดยสมัครใจ ร้อยละ 2.42 3.11 2.52 2.08
การลาออกจากงานแบบสมัครใจของพนักงานแบ่งตามเพศ กำลังคน 48 38 60 50 49 41 44 31
อัตราการลาออกจากงานแบบสมัครใจของพนักงานแบ่งตามเพศ ร้อยละ 1.35 1.07 1.69 1.41 1.37 1.15 1.22 0.86
การลาออกจากงานแบบสมัครใจของพนักงานแบ่งตามพื้นที่
• กรุงเทพมหานคร กำลังคน 29 36 37 46 34 39 23 29
ร้อยละ 0.82 1.01 1.05 1.30 0.95 1.09 0.64 0.80
• อื่นๆ [2] กำลังคน 19 2 23 4 18 3 26 2
ร้อยละ 0.54 0.06 0.65 0.11 0.50 0.08 0.72 0.06
 • ต่างประเทศ [2] กำลังคน 0 0 0 0 0 0 0 0
ร้อยละ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
การลาออกจากงานแบบสมัครใจของพนักงานแบ่งตามอายุ [5]
• อายุ 50 ปีขึ้นไป กำลังคน 37 26 45 31 33 24 35 23
ร้อยละ 1.04 0.73 1.27 0.88 0.92 0.67 0.97 0.64
• อายุ 30-50 ปี กำลังคน 9 10 11 12 15 12 7 5
ร้อยละ 0.25 0.28 0.31 0.34 0.42 0.34 0.19 0.14
• อายุต่ำกว่า 30 ปี กำลังคน 2 2 4 7 4 6 2 3
ร้อยละ 0.06 0.06 0.11 0.20 0.11 0.17 0.06 0.08
GRI 401-3 พนักงานทั้งหมดที่มีสิทธิ์ในการลาคลอด/ลาเลี้ยงดูบุตร กำลังคน 2,189 1,362 2,184 1,356 2,202 1,372 2,224 1,381
พนักงานที่ใช้สิทธิ์ในการลาคลอด/ลาเลี้ยงดูบุตร กำลังคน 45 36 58 35 47 31 39 26
พนักงานที่กลับมาปฏิบัติงานหลังจากใช้สิทธิ์ในการลาคลอด/ลาเลี้ยงดูบุตร กำลังคน 45 32 55 30 47 31 18 11
พนักงานที่กลับมาปฏิบัติงานหลังจากใช้สิทธิ์ในการลาคลอด/ลาเลี้ยงดูบุตรโดยได้รับการจ้างต่ออีก 12 เดือน [6] กำลังคน - - - - - - - -
อัตราการคงอยู่ของพนักงานที่ลาคลอด/เลี้ยงดูบุตร ร้อยละ 100.00 88.89 94.83 85.71 100.00 100.00 46.15 42.31
GRI 404-1 ค่าเฉลี่ยเวลาการฝึกอบรมพนักงาน [7] ชั่วโมงต่อคน
ผู้บริหารและพนักงาน
• จำนวนชั่วโมงการอบรมเฉลี่ย ชั่วโมงต่อคน 37.40 36.70 45.03 42.85 49.10 41.32 51.31 41.45
ผู้บริหาร
• จำนวนชั่วโมงการอบรมเฉลี่ย ชั่วโมงต่อคน 34.25 64.93 49.57 44.90
พนักงาน
• จำนวนชั่วโมงการอบรมเฉลี่ย ชั่วโมงต่อคน 37.32 42.78 45.87 47.72
ค่าใช้จ่ายในการการอบรมเฉลี่ย บาทต่อคน 13,485.45 29,502.06 30,513.87 37,040.97
ผลตอบแทนจากการลงทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ - 239.77 333.00 298.00 273.00
GRI 404-3 ประเภทการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลปฏิบัติงานจากตัวชี้วัดผลการดำเนินงานรายบุคคล ร้อยละของพนักงานที่ได้รับการประเมิน 100 100 100 100
การประเมินผลปฏิบัติงานแบบรอบด้าน  ร้อยละของพนักงานที่ได้รับการประเมิน 100 100 100 100
การประเมินผลปฏิบัติงานแบบทีม ร้อยละของพนักงานที่ได้รับการประเมิน 100 100 100 100
การติดตามความคืบหน้าของผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ร้อยละของพนักงานที่ได้รับการประเมิน 100 100 100 100
GRI 405-1 พนักงานแบ่งตามระดับและอายุ
ผู้บริหารระดับสูง (ระดับ 16 - 19) ร้อยละ 1.35 0.54 0.01 0.00 1.40 0.56 1.44 0.55
• อายุ 50 ปีขึ้นไป ร้อยละ 1.24 0.51 1.24 0.45 1.37 0.56 1.44 0.50
• อายุ 30-50 ปี ร้อยละ 0.11 0.03 0.06 0.03 0.03 0.00 0.00 0.06
• อายุต่ำกว่า 30 ปี ร้อยละ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
ผู้บริหารระดับกลาง (ระดับ 14 - 15) ร้อยละ 2.34 2.03 0.02 0.02 2.52 2.07 2.69 2.02
• อายุ 50 ปีขึ้นไป ร้อยละ 1.58 1.44 1.50 1.50 1.51 1.54 1.58 1.61
• อายุ 30-50 ปี ร้อยละ 0.76 0.59 0.99 0.62 1.01 0.53 1.11 0.42
• อายุต่ำกว่า 30 ปี ร้อยละ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
ผู้บริหารระดับต้น (ระดับ 9 - 10 แผนก และ ระดับ 11 - 13) ร้อยละ 10.48 6.98 0.11 0.07 11.44 7.58 11.35 7.66
• อายุ 50 ปีขึ้นไป ร้อยละ 3.32 2.87 3.42 2.99 3.61 2.99 3.66 3.05
• อายุ 30-50 ปี ร้อยละ 7.15 4.11 7.26 4.24 7.83 4.59 7.68 4.60
• อายุต่ำกว่า 30 ปี ร้อยละ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
พนักงานอาวุโส (ระดับ 9 - 10) ร้อยละ 18.73 15.40 0.19 0.16 19.89 16.26 20.64 16.87
• อายุ 50 ปีขึ้นไป ร้อยละ 3.38 1.97 3.31 2.01 3.08 1.85 3.19 1.86
• อายุ 30-50 ปี ร้อยละ 15.18 13.40 16.02 14.12 16.79 14.33 17.45 14.98
• อายุต่ำกว่า 30 ปี ร้อยละ 0.17 0.03 0.06 0.00 0.03 0.08 0.00 0.03
พนักงาน (ระดับ 8 ลงมา) ร้อยละ 28.75 13.40 0.28 0.12 26.36 11.92 25.58 11.21
• อายุ 50 ปีขึ้นไป ร้อยละ 0.99 0.17 0.88 0.11 0.81 0.11 0.89 0.08
• อายุ 30-50 ปี ร้อยละ 20.11 8.73 20.06 8.08 19.25 8.06 18.17 7.63
• อายุต่ำกว่า 30 ปี ร้อยละ 7.66 4.51 6.92 4.15 6.30 3.75 6.52 3.50
พนักงานแบ่งตามศาสนา
พนักงานทั้งหมด
• ศาสนาพุทธ กำลังคน
ร้อยละ 96.97 96.94 96.92 96.16
• ศาสนาคริสต์ กำลังคน
ร้อยละ 1.59 1.64 1.47 1.38
• ศาสนาอิสลาม กำลังคน
ร้อยละ 1.11 1.08 1.20 1.19
• อื่น ๆ กำลังคน
ร้อยละ 0.33 0.34 0.41 1.27
ผู้บริหารทั้งหมด
• ศาสนาพุทธ กำลังคน
ร้อยละ 97.62 97.67 97.37 97.19
• ศาสนาคริสต์ กำลังคน
ร้อยละ 1.78 1.74 2.08 2.16
• ศาสนาอิสลาม กำลังคน
ร้อยละ 0.48 0.47 0.33 0.32
• อื่น ๆ กำลังคน
ร้อยละ 0.12 0.12 0.22 0.32
สัดส่วนของพนักงานหญิง
• พนักงานหญิงต่อจำนวนพนักงานทั้งหมด กำลังคน
ร้อยละของพนักงานหญิงต่อจำนวนพนักงานทั้งหมด 38.50 38.63 38.35 38.29
เป้าหมายร้อยละของพนักงานทั้งหมด 23 23 23 23
• ผู้บริหารหญิงต่อจำนวนผู้บริหารทั้งหมด กำลังคน
ร้อยละของผู้บริหารหญิงต่อจำนวนผู้บริหารทั้งหมด 40.06 40.57 39.80 39.79
เป้าหมายร้อยละของพนักงานทั้งหมด 23 23 23 23
• ผู้บริหารหญิงระดับสูงต่อจำนวนผู้บริหารระดับสูงทั้งหมด กำลังคน
ร้อยละของผู้บริหารหญิงระดับสูงต่อจำนวนผู้บริหารระดับสูงทั้งหมด 28.70 28.71 26.78 28.74
เป้าหมายร้อยละของพนักงานทั้งหมด 23 23 23 23
• ผู้บริหารหญิงระดับต้นต่อจำนวนผู้บริหารระดับต้นทั้งหมด กำลังคน
ร้อยละของผู้บริหารหญิงระดับต้นต่อจำนวนผู้บริหารระดับต้นทั้งหมด 39.74 40.32 39.44 39.77
เป้าหมายร้อยละของพนักงานทั้งหมด 23 23 23 23
• ผู้บริหารหญิงในหน่วยงานที่เกี่ยวกับการสร้างรายได้ต่อผู้บริหารในหน่วยงานที่เกี่ยวกับการสร้างรายได้ทั้งหมด กำลังคน
ร้อยละของผู้บริหารหญิงในหน่วยงานที่เกี่ยวกับการสร้างรายได้ต่อผู้บริหารในหน่วยงานที่เกี่ยวกับการสร้างรายได้ทั้งหมด 27.77 28.88 29.14 28.45
เป้าหมายร้อยละของพนักงานทั้งหมด 23 23 23 23
• พนักงานหญิงในตำแหน่งงานที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (Science, Technology, Engineering, and Mathematics: STEM) ต่อพนักงานในตำแหน่งด้าน STEM ทั้งหมด กำลังคน
ร้อยละของพนักงานหญิงในตำแหน่งด้าน STEM ต่อพนักงานในตำแหน่งด้าน STEM ทั้งหมด 18.37 27.51 24.25 28.45
เป้าหมายร้อยละของพนักงานทั้งหมด 23 23 23 23
GRI 405-2 อัตราส่วนเงินเดือนและรายได้ของพนักงานในแต่ละพื้นที่ของผู้หญิงต่อผู้ชาย
กรุงเทพมหานคร
• ผู้บริหารระดับสูง (ระดับ 16 - 19) อัตราส่วน 0.93 0.93 0.92 0.85
• ผู้บริหารระดับกลาง (ระดับ 14 - 15) อัตราส่วน 0.99 1.05 1.04 1.07
• ผู้บริหารระดับต้น (ระดับ 9 - 10 แผนก และ ระดับ 11 - 13) อัตราส่วน 1.16 1.13 1.11 1.09
• พนักงานอาวุโส (ระดับ 9 - 10) อัตราส่วน 0.95 0.95 0.94 0.94
• พนักงาน (ระดับ 8 ลงมา) อัตราส่วน 0.94 0.94 0.95 0.97
อื่นๆ [2]
• ผู้บริหารระดับสูง (ระดับ 16 - 19) อัตราส่วน 1.13 - - -
• ผู้บริหารระดับกลาง (ระดับ 14 - 15) อัตราส่วน 0.94 0.98 1.00 0.93
• ผู้บริหารระดับต้น (ระดับ 9 - 10 แผนก และ ระดับ 11 - 13) อัตราส่วน 1.12 1.11 1.11 1.12
• พนักงานอาวุโส (ระดับ 9 - 10) อัตราส่วน 0.96 1.02 1.10 1.08
• พนักงาน (ระดับ 8 ลงมา) อัตราส่วน 1.13 1.03 1.02 0.94
ความผูกพันของพนักงานในองค์กร
ระดับความผูกพันของพนักงาน ร้อยละของพนักงานที่พึงพอใจ 80 79 82 81
เป้าหมายของระดับความผูกพันของพนักงาน ร้อยละของพนักงานที่พึงพอใจ 80 80 80 80
ความครอบคลุมของพนักงานในการสำรวจความพึงพอใจ ร้อยละของพนักงานที่พึงพอใจ 91 89 93 93
ความครอบคลุมของพนักงานในการรวมตัวและเจรจาต่อรอง
ร้อยละของพนักงานที่เข้าร่วมสหภาพแรงงาน ร้อยละของพนักงานที่เข้าร่วมสหภาพแรงงาน 61 59 63 58
กรณีการทุจริตคอร์รัปชัน กรณี 0 0 0 0

หมายเหตุ:

 [1] การจ้างบุคคลภายนอก หมายถึง ผู้รับจ้างทำของที่ส่งมอบงานตามที่ระบุไว้ในสัญญาจ้างประจำปี โดยไม่นับรวมจุดบริการจ้างทำของตามสัญญาจ้างระยะสั้น/ระหว่างปี เช่น ผู้รับเหมา การจ้างที่ปรึกษา แม่บ้าน เป็นต้น
 [2] อื่นๆ หมายถึง จังหวัดที่สำนักงาน ปตท. ตั้งอยู่ ยกเว้นกรุงเทพมหานคร เช่น ระยอง ชลบุรี เป็นต้น
 [3] รวมพนักงานที่ปฏิบัติงานในประเทศเมียนมา มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และอังกฤษ
 [4] รวมพนักงานที่ปฏิบัติงานในประเทศสิงคโปร์ และอังกฤษ
 [5] การลาออกของพนักงานไม่รวมผู้เกษียณอายุ
 [6] การเก็บข้อมูลจะตรวจสอบข้อมูลการลาคลอดที่เกิดขึ้นในแต่ละปี รวมกับระยะเวลาลาคลอด (3 เดือน) และพนักงานลาเลี้ยงดูบุตร (5เดือน) เมื่อพิจารณาร่วมกับเงื่อนไขของข้อมูลที่ระบุว่า กลับมาปฏิบัติงานหลังจากใช้สิทธิ์ในการลาคลอด หรือ ลาเลี้ยงดูบุตรโดย  ได้รับการจ้างต่ออีก 12 เดือน จึงจะสามารถทราบข้อมูลได้เมื่อครบ 20 เดือนหลังจากเดือนธันวาคมของข้อมูลในปีนั้น ซึ่งจะตรงกับช่วงเดือนสิงหาคมของทุกปี
 [7] รวมจำนวนชั่วโมงการฝึกอบรมและการศึกษาต่อของนักเรียนทุน




ด้านความมั่นคง ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย

ข้อมูลสำหรับรายงานความยั่งยืน: ข้อมูลความปลอดภัย ปตท. (Safety)

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
GRI 403-9 (2018)  จํานวนและอัตราผู้เสียชีวิตจากการทํางาน
• พนักงานทั้งหมด คน 0 0 0 0
คนต่อ 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0 0
• ผู้รับเหมา [5] คน 0 0 2 0
คนต่อ 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0.069 0
เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ
• พนักงานทั้งหมดและผู้รับเหมา [5] จำนวน 76 52 22 17
จำนวนและอัตราการเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน (LWC, LDR) [2]
• พนักงานทั้งหมด คน 0 0 0 0
จำนวนวันที่สูญเสียไปต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0 0
• ผู้รับเหมา [5] คน 0 0 3 0
จำนวนวันที่สูญเสียไปต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0.255 0
จำนวนและอัตราผู้บาดเจ็บจากการทำงาน (TRIC, TRIR)[3]
• พนักงานทั้งหมด คน 0 2 1 1
คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0.063 0.033 0.031
• ผู้รับเหมา [5] คน 3 3 4 0
คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0.038 0.038 0.028 0.000
อัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (LTIFR) [3]
• พนักงานทั้งหมด คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0 0
คนต่อ 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0 0
• ผู้รับเหมา [5] คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0.021 0
คนต่อ 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0.103 0
อัตราการบาดเจ็บที่มีผลกระทบสูงอันเนื่องมาจากทำงานศ [6] (ไม่รวมการเสียชีวิต)
• พนักงานทั้งหมด คน 0 0 0 0
คนต่อ 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0 0
• ผู้รับเหมา [5] คน 0 0 0 0
คนต่อ 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0 0
GRI 403-10 (2018) อัตราการเจ็บป่วยจากการทำงาน (OIFR) [3]
• พนักงานทั้งหมด คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0 0
• ผู้รับเหมา [5] คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0 0 0 0
การเสียชีวิตจากการเจ็บป่วยจากการทำงาน
• พนักงานทั้งหมด คน 0 0 0 0
• ผู้รับเหมา [5] คน 0 0 0 0
เหตุการณ์การเจ็บป่วยจากการทำงาน
• พนักงานทั้งหมด คน 0 0 0 0
• ผู้รับเหมา คน 0 0 0 0
อัตราการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดแล้วต้องหยุดงานหรือเปลี่ยนไปทำงานอื่นหรือไม่สามารถทำงานเดิมได้
• พนักงาน คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0.00 0.00 0.00 0.00
• ผู้รับเหมา คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0.00 0.00 0.021 0.000
อัตราวันทำงานที่สูญเสียของ ปตท.
• พนักงาน คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0.00 0.00 0.00 0.00
• ผู้รับเหมา คนต่อ 200,000 ชั่วโมงการทำงาน 0.00 0.00 0.255 0.000
อัตราการบาดเจ็บทั้งหมดของ ปตท.
• พนักงาน คนต่อ 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน 0.000 0.315 0.163 0.156
• ผู้รับเหมา คนต่อ 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน 0.200 0.189 0.138 0.000
จำนวนอุบัติเหตุจากการใช้รถยนต์ส่วนกลาง จำนวนอุบัติเหตุ 1 0 1 2
เป้าหมาย 2 0 0 0
จำนวนอุบัติเหตุรถขนส่งผลิตภัณฑ์ขั้นรุนแรง จำนวนอุบัติเหตุต่อ 1,000,000 กิโลเมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
เป้าหมาย 0.014 0.00 0.00 0.00
ความปลอดภัยในกระบวนการผลิต Tier1 ของ ปตท. จำนวนเหตุการณ์ต่อ 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน 0.0063 0 0 0
จำนวนอุบัติเหตุด้านความปลอดภัยกระบวนการผลิตระดับ Tier 1 ของกลุ่ม ปตท. ครั้ง 1 3 2 0
เป้าหมาย 0 0 0 0

หมายเหตุ:

 NA: ไม่มีข้อมูล 
[1] ขอบเขตข้อมูลครอบคลุมเฉพาะสถานประกอบการในประเทศไทยเท่านั้น และไม่จําแนกเพศ เนื่องจาก ปตท. ให้ความสําคัญต่อความปลอดภัยของพนักงานทุกคนเท่าเทียมกันตามหลักจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ ทั้งนี้ไม่ครอบคลุมข้อมูลผู้รับเหมาโครงการก่อสร้างที่ตัดแยกพื้นที่ในระยะก่อนส่งมอบให้ ปตท. เช่น โครงการก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติ
[2] นับตามวันทํางานและเริ่มนับตั้งแต่หยุดงานในวันถัดไป ทั้งนี้กําหนดเป้าหมายเท่ากับ 0 ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นไป
[3] ไม่รวมอุบัติเหตุในระดับปฐมพยาบาล
[4] ปี 2561 มีอุบัติเหตุถึงขั้นผู้รับเหมาเสียชีวิต 1 ครั้งโดย ปตท. ได้ดําเนินการสอบสวนหาสาเหตุและดําเนินการแก้ไขป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวซ้ำขึ้นอีก และได้จัดทําเป็นบทเรียนเพื่อส่งให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ
[5] ผู้รับเหมา หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานที่ไม่ใช่พนักงานแต่ปฏิบัติงานหรือพื้นที่ปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของ ปตท. ตามนิยาม GRI 403: Occupational Health and Safety 2018
[6] การบาดเจ็บที่มีผลกระทบสูงอันเนื่องมาจากการทํางาน หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการทํางานซึ่งส่งผลให้ ผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถฟื้นตัวได้ภายใน 6 เดือน (ไม่รวมการเสียชีวิต)






ด้านสิ่งแวดล้อม

ข้อมูลสำหรับรายงานความยั่งยืน:  การดึงน้ำ / การใช้น้ำ (Water), น้ำทิ้งที่ปล่อยออกมา (Effluents),  คุณภาพอากาศ (Emissions)

การใช้น้ำ

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
ปตท.
GRI 303-3 (2018) การดึงน้ำทั้งหมด
ปริมาณการดึงน้ำทั้งหมด ล้านลิตร 2,010.74 1,862.48 1,889.72 2,030.66
น้ำผิวดิน ล้านลิตร 140.10 251.74 147.00 181.02
• น้ำผิวดิน ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด  ≤1,000 mg/l  ล้านลิตร 140.10 251.74 147.00 181.02
• น้ำผิวดิน - น้ำอื่น ๆ ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
น้ำใต้ดิน  ล้านลิตร 33.19 62.51 32.77 35.31
• น้ำใต้ดิน ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ≤1,000 mg/l  ล้านลิตร 33.19 33.19 33.19 35.31
• น้ำใต้ดิน - น้ำอื่น ๆ ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
น้ำจากกระบวนการผลิต  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• น้ำจากกระบวนการผลิต ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ≤1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• น้ำจากกระบวนการผลิต - น้ำอื่น ๆ ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
น้ำทะเล  ล้านลิตร 83.25 84.13 93.86 118.17
• น้ำทะเล  ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ≤1,000 mg/l ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• น้ำทะเล - น้ำอื่น ๆ  ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l  ล้านลิตร 83.25 84.13 93.86 118.17
น้ำจากองค์กรอื่น  ล้านลิตร 1,754.20 1,464.10 1,616.09 1,696.16
• น้ำจากองค์กรอื่น ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ≤1,000 mg/l  ล้านลิตร 1,754.20 1,464.10 1,616.09 1,696.16
• น้ำจากองค์กรอื่น - น้ำอื่น ๆ ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
ปริมาณการดึงน้ำทั้งหมดจากแหล่งน้ำต่าง ๆ ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำ ล้านลิตร 195.58 324.32 1,775.73 1,939.73
น้ำผิวดิน ล้านลิตร 62.91 163.84 81.26 130.08
• น้ำผิวดินที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด  ≤1,000 mg/l  ล้านลิตร 62.91 163.84 81.26 130.08
• น้ำผิวดิน - น้ำอื่น ๆ ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l   ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
น้ำใต้ดิน  ล้านลิตร 29.42 60.57 30.36 30.56
• น้ำใต้ดิน ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ≤1,000 mg/l  ล้านลิตร 29.42 60.57 30.36 30.56
• น้ำใต้ดิน - น้ำอื่น ๆ ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
น้ำจากกระบวนการผลิต  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• น้ำจากกระบวนการผลิต ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ≤1,000 mg/l   ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• น้ำจากกระบวนการผลิต - น้ำอื่น ๆ ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
น้ำทะเล  ล้านลิตร 0.00 0.00 84.50 82.93
• น้ำทะเล  ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ≤1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• น้ำทะเล - น้ำอื่น ๆ  ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 84.50 82.93
น้ำจากองค์กรอื่น  ล้านลิตร 103.25 99.91 1,579.61 1,696.16
น้ำจากองค์กรอื่น แยกตามแหล่งที่มาของน้ำ
- น้ำผิวดิน  ล้านลิตร 99.76 99.91 1,579.61 1,696.16
- น้ำใต้ดิน  ล้านลิตร 0.00 3.49 0.00 0.00
- น้ำทะเล  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
- น้ำจากกระบวนการผลิต  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
น้ำจากองค์กรอื่น แยกตามคุณภาพของน้ำ
• น้ำจากองค์กรอื่น ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ≤1,000 mg/l  ล้านลิตร 103.25 99.91 1,579.61 1,696.16
• น้ำจากองค์กรอื่น - น้ำอื่นๆ ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l  ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
GRI 303-5 (2018) ปริมาณการใช้น้ำทั้งหมด ล้านลิตร 1,584.77 1,631.88 1,653.58 1,782.67
• ปริมาณน้ำใช้ทั้งหมดในองค์กร ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำ   ล้านลิตร 179.33 306.13 1,549.03 1,696.16
ปริมาณการใช้น้ำจืดทั้งหมด ล้าน ลูกบาศก์เมตร 1.52 1.57 1.79 1.91
เป้าหมายการใช้น้ำจืด
ล้าน ลูกบาศก์เมตร
ปริมาณการดึงน้ำจืดจากผู้ผลิตน้ำ ล้าน ลูกบาศก์เมตร 1.75 1.46 1.62 1.70
ปริมาณการดึงน้ำจืดจากน้ำผิวดิน  ล้าน ลูกบาศก์เมตร 0.14 0.25 0.15 0.18
ปริมาณการดึงน้ำจืดจากน้ำใต้ดิน ล้าน ลูกบาศก์เมตร 0.03 0.06 0.03 0.04
ปริมาณน้ำทิ้งที่ปล่อยออก ล้าน ลูกบาศก์เมตร 0.41 0.21 0.00 0.00
ปริมาณการใช้น้ำจืดทั้งหมดในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำ   ล้าน ลูกบาศก์เมตร 0.18 0.31 1.53 1.70
ผลกระทบต่อองค์กรจากเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้ำ บาท 0 0 0 0
กลุ่ม ปตท. 
GRI 303-3 (2018) ปริมาณการดึงน้ำทั้งหมด ล้าน ลูกบาศก์เมตร 129.76 116.71 118.02 132.50
ปริมาณการดึงน้ำจืดทั้งหมด ล้าน ลูกบาศก์เมตร 63.29 70.68 68.92 68.24
GRI 303-5 (2018) ปริมาณการใช้น้ำทั้งหมด ล้านลิตร 129.78 116.73 109.55 117.83
GRI 303-5 (2018) ปริมาณการใช้น้ำจืดทั้งหมด ล้าน ลูกบาศก์เมตร 58.28 67.60 65.78 63.97
ร้อยละของนำที่นำกลับมาใช้ใหม่ต่อน้ำที่ใช้ทั้งหมด ร้อยละ 17.00 17.00 14.00 12.00

หมายเหตุ:

 - มีการทบทวนตััวเลขปี 2563 - 2565 เพื่่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น
 - ปี 2563 ปริมาณการดึงน้ำทั้งหมดลดลง เนื่องจากการดําเนินการโครงการลดการใช้น้ำ และการลดกําลังการผลิตของโรงแยกก๊าซธรรมชาติหน่วยที่ 1
 - ปี 2565 ปริมาณการดึงน้ำในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำเพิ่มขึ้น เนื่องจากศูนย์ปฏิบัติการระบบท่อเขต 10 จ.ฉะเชิงเทรา มีการเติมน้ำเข้าสู่บ่อเก็บน้ำดับเพลิงศูนย์
 - ปี 2566 ปริมาณการดึงน้ำทั้งหมดใกล้เคียงกับปี 2565
 - ปี 2565 มีสถานประกอบการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำทั้งหมด 15 แห่ง ได้แก่ ศูนย์ปฏิบัติการระบบท่อเขต 1, 2, 9, 10, 11 และศูนย์ปฏิบัติการฯ ชลบุรี สถาบันนวัตกรรม ปตท. สถานีจ่ายก๊าซหลักแก่งคอย นิมิตใหม่ นิมิตใหม่ 2 บ้านบึง รังสิตปทุมธานี ลาดหลุมแก้ว ลานกระบือและลำลูกกา
 - ปี 2566 มีการอัพเดทเวอร์ชั่นของ WRI Aquaduct (Water Stress Area) ที่ใช้ประเมินสถานประกอบการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำ ทำให้มีสถานประกอบการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำเพิ่มขึ้น โดยมีจำนวนทั้งหมด 28 แห่ง ได้แก่ โรงแยกก๊าซขนอม โรงแยกก๊าซระยอง สถานีหลัก NGV กัลปพฤกษ์ แก่งคอย ขอนแก่น ทุ่งครุ นิมิตใหม่ นิมิตใหม่ 2 บ้านบึง รังสิตปทุมธานี ลาดหลุมแก้ว ลานกระบือ ลำลูกกา ปตท. สำนักงานใหญ่ คลังก๊าซบ้านโรงโป๊ะ คลังก๊าซเขาบ่อยา คลังน้ำมันศรีราชา ศูนย์ปฏิบัติการระบบท่อเขต 1,2,3,4,6,9,10,11,12 ศูนย์ปฏิบัติการชลบุรี และศูนย์ปฏิบัติการชายฝั่ง ส่งผลให้ข้อมูลปริมาณการใช้น้ำทั้งหมดในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำเพิ่มขึ้น
 - ข้อมูลที่รายงานไม่รวมถึงบ้านพักพนักงานใน จ.ระยอง เนื่องจากไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมการดำเนินงาน (Operational control) ของ ปตท.




น้ำทิ้งที่ปล่อยออกมา

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
GRI 303-4 (2018) ปริมาณน้ำทิ้งที่ปล่อยออกนอกองค์กรทั้งหมด ล้านลิตร 425.97 230.60 236.14 278.30
ปริมาณน้ำทิ้งที่ปล่อยออกนอกองค์กร ในพื้นที่ที่ไม่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำ ล้านลิตร 409.72 212.41 9.44 34.74
จำแนกตามแหล่งที่มา
- น้ำผิวดิน ล้านลิตร 402.72 205.32 1.95 1.50
- น้ำใต้ดิน ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
- น้ำทะเล ล้านลิตร 6.98 7.09 7.49 33.24
- องค์กรอื่น ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
จำแนกตามคุณภาพน้ำ
• ปริมาณน้ำทิ้งที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด ≤1,000 mg/l (Fresh water ≤1,000 mg/l) ล้านลิตร 409.72 205.32 1.95 1.50
• ปริมาณน้ำทิ้งที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l (Other water >1,000 mg/l) ล้านลิตร 0.61 7.09 7.49 33.24
ปริมาณน้ำทิ้งที่ปล่อยออกนอกองค์กร ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำ ล้านลิตร 16.25 18.19 226.70 243.56
จำแนกตามแหล่งที่มา
- น้ำผิวดิน ล้านลิตร 16.25 18.19 226.70 160.64
- น้ำใต้ดิน ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
- น้ำทะเล ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 82.93
- องค์กรอื่น ล้านลิตร 0.00 0.00 0.00 0.00
จำแนกตามคุณภาพน้ำ
• ปริมาณน้ำทิ้งที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด  ≤1,000 mg/l (Fresh water ≤1,000 mg/l) ล้านลิตร 15.64 18.18 164.39 160.64
• ปริมาณน้ำทิ้งที่มีค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมด >1,000 mg/l (Other water >1,000 mg/l) ล้านลิตร 0.61 0.00 62.31 82.93

หมายเหตุ:

 - ปรับรูปแบบการบันทึกและเปิดเผยข้อมูลน้ำทิ้ง ให้สอดคล้องตาม GRI 303 Water and Effluents 2018
- สามารถควบคุมคุณภาพน้ำทิ้งได้ตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด
- นิยามปริมาณน้ำทิ้งขององค์กร เป็นไปตามขอบเขตที่กฎหมายกำหนด
- ปี 2566 มีการอัพเดทเวอร์ชั่นของ WRI Aquaduct (Water Stress Area) ที่ใช้ประเมินสถานประกอบการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำ ทำให้มีสถานประกอบการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำเพิ่มขึ้น โดยมีจำนวนทั้งหมด 28 แห่ง ได้แก่ โรงแยกก๊าซขนอม โรงแยกก๊าซระยอง สถานีหลัก NGV กัลปพฤกษ์ แก่งคอย ขอนแก่น ทุ่งครุ นิมิตใหม่ นิมิตใหม่ 2 บ้านบึง รังสิตปทุมธานี ลาดหลุมแก้ว ลานกระบือ ลำลูกกา ปตท. สำนักงานใหญ่ คลังก๊าซบ้านโรงโป๊ะ คลังก๊าซเขาบ่อยา คลังน้ำมันศรีราชา ศูนย์ปฏิบัติการระบบท่อเขต 1,2,3,4,6,9,10,11,12 ศูนย์ปฏิบัติการชลบุรี และศูนย์ปฏิบัติการชายฝั่ง ส่งผลให้ข้อมูลปริมาณการใช้น้ำทั้งหมดในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงขาดแคลนน้ำเพิ่มขึ้น
- ปี 2567 ผลการประเมินความเสี่ยงของ AQUEDUCT ไม่เปลี่ยนแปลงจากผลการประเมินปี 2566








คุณภาพอากาศ 

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
ปตท.
GRI 303-4 (2018) สารอินทรีย์ระเหย (VOCs) ตัน 1,867.06 1,812.16 1,796.11 1,664.57
ความเข้มของสารอินทรีย์ระเหย  ตันต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า [1] 5.29 4.84 4.65 4.42
ตันต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า [2] 6.91 6.97 6.53 6.13
ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ตัน 883.85 818.32 1,025.88 758.88
ความเข้มของออกไซด์ของไนโตรเจน ตันต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า [1] 2.50 2.19 2.65 2.02
ตันต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า [2] 3.27 3.15 3.73 2.79
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ตัน 24.68 28.21 42.93 46.03
ความเข้มของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ตันต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า [1] 0.07 0.08 0.11 0.12
ตันต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า [2] 0.09 0.11 0.16 0.17
กลุ่ม ปตท.
GRI 305-7 (2016) สารอินทรีย์ระเหย (VOCs) ตัน 28,815.15 28,233.10 20,664.03 19,935.63
เป้าหมาย (ตัน) - 29,315.00 34,005.50 34,474.00
ความเข้มของสารอินทรีย์ระเหย  ตันต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า 73.31 68.89 49.04 48.00
ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ตัน 14,854.43 12,853.03 11,598.51 12,327.06
เป้าหมาย (ตัน) - 16,053.00 18,436.72 18,691.00
ความเข้มของออกไซด์ของไนโตรเจน ตันต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า 37.79 31.36 27.53 29.68
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ตัน 5,571.37 7,632.80 7,581.77 7,781.74
เป้าหมาย (ตัน) - 9,974.00 11,471.73 11,630.00
ความเข้มของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ตันต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า 14.17 18.62 17.99 18.73

หมายเหตุ:

 - เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ปี 2563 ด้านการปลดปล่อยมลพิษทางอากาศ SO2, NOx และ VOCs: อัตราการเพิ่มการระบายมลพิษทางอากาศของทุกปีเป็นศูนย์
- ทุกสถานประกอบการสามารถควบคุมปริมาณ SO2 และ NOx ได้ตามมาตรฐานที่กฎหมายกําหนด
[1] บาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า (mboe) คำนวณจากปริมาณการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของ ปตท. และบริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จำกัด (มหาชน)
[2] บาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า (mboe) คำนวณจากปริมาณการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของ ปตท.
- ในปี 2566 ปริมาณ NOx เพิ่มขึ้นเนื่องจากการเพิ่มกำลังการผลิตส่งผลให้ปริมาณ Feed Gas เข้าโรงแยกก๊าซธรรมชาติระยองเพิ่มขึ้น รวมถึงจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงโดยใช้ Natural Gas เพื่อผลิตไฟฟ้าใช้เอง ทดแทนการซื้อไฟฟ้า
- ในปี 2566 และ 2567 ปริมาณ SO2 เพิ่มขึ้นเนื่องจากการเพิ่มกำลังการผลิตส่งผลให้ปริมาณ Feed Gas เข้าโรงแยกก๊าซธรรมชาติระยองเพิ่มขึ้น รวมถึงมีการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนไฮโดรเจนซัลไฟด์ในเนื้อก๊าซจากผู้ผลิตต้นทาง เมื่อเทียบกับปี 2022
- ในปี 2567 ปริมาณ NOx ลดลงจากการใช้เชื้อเพลิงลดลงของโรงแยกก๊าซธรรมชาติระยองหน่วยที่ 1 มีการหยุดซ่อมบำรุง (Shutdown Maintennance) 10 วัน โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยองหน่วยที่ 5 และหน่วยที่ 6 ลดกำลังการผลิตลง 50% รวม 111 วันและ 36 วันตามลำดับ





ข้อมูลสำหรับรายงานความยั่งยืน: ของเสีย (Waste)

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
ปตท.
GRI WASTE (2020) - Effective 2022
GRI 306-3 (2020) ปริมาณการเกิดของเสีย ตัน
ปริมาณการเกิดของเสียอันตราย ตัน 1,609.80 2,873.50 3,123.81 3,742.33
ปริมาณการเกิดของเสียไม่อันตราย ตัน 3,256.30 11,587.99 3,700.61 8,933.31
GRI 306-4 (2020) การจัดการของเสียทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด ตัน 987.26 959.55 1,576.17 1,106.36
การจัดการของเสียอันตรายทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด (ในพื้นที่) ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำกลับมาใช้ซ้ำ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำกลับมาใช้ใหม่ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
•  การนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียไม่อันตรายทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด  (ในพื้นที่) ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำกลับมาใช้ซ้ำ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำกลับมาใช้ใหม่ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ  ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียอันตรายทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด (นอกพื้นที่) ตัน 186.76 160.89 948.27 145.66
• การนำกลับมาใช้ซ้ำ ตัน 0.32 0.00 0.00 0.87
• การนำกลับมาใช้ใหม่ ตัน 186.44 160.89 948.27 144.79
• การนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ  ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียไม่อันตรายทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด (นอกพื้นที่) ตัน 800.50 798.66 627.90 960.70
• การนำกลับมาใช้ซ้ำ ตัน 1.20 0.00 0.00 0.00
• การนำกลับมาใช้ใหม่ ตัน 658.90 610.26 405.89 960.70
• การนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ  ตัน 140.40 188.40 222.01 0.00
GRI 306-5 (2020) การจัดการของเสียทั้งหมดในรูปแบบวิธีการกําจัด ตัน 3,932.81 13,434.79 5,242.14 11,597.42
การจัดการของเสียอันตรายทั้งหมดในรูปแบบวิธีการกําจัด (ในพื้นที่) ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำพลังงานกลับคืนมา ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การเผา ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การฝังกลบอย่างปลอดภัย ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การกำจัดด้วยวิธีอื่น ๆ ตันตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• ไม่ทราบวิธีการกำจัด ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียไม่อันตรายทั้งหมดในรูปแบบวิธีการกําจัด (ในพื้นที่) ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำพลังงานกลับคืนมา ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การเผา ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การฝังกลบอย่างปลอดภัย ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การกำจัดด้วยวิธีอื่น ๆ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• ไม่ทราบวิธีการกำจัด ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียอันตรายทั้งหมดในรูปแบบวิธีการกําจัด (นอกพื้นที่) ตัน 1,456.62 2,656.99 2,163.40 3,624.21
• การนำพลังงานกลับคืนมา ตัน 756.75 2,520.48 1,845.08 3,406.68
• การเผา ตัน 643.75 115.10 312.12 216.15
• การฝังกลบอย่างปลอดภัย ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การกำจัดด้วยวิธีอื่น ๆ ตัน 56.12 21.41 6.20 1.39
• ไม่ทราบวิธีการกำจัด ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียไม่อันตรายทั้งหมดในรูปแบบวิธีการกําจัด (นอกพื้นที่) ตัน 2,476.19 10,777.80 3,078.74 7,973.21
• การนำพลังงานกลับคืนมา ตัน 222.41 148.10 200.91 136.14
• การเผา ตัน 108.52 15.08 26.51 14.19
• การฝังกลบอย่างปลอดภัย ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การกำจัดด้วยวิธีอื่น ๆ ตัน 2,145.26 10,614.62 2,851.32 7,822.88
• ไม่ทราบวิธีการกำจัด ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
กลุ่ม ปตท.
GRI 306-3 (2020) ปริมาณการเกิดของเสีย ตัน
ปริมาณการเกิดของเสียอันตราย ตัน 53,035.64 55,696.76 47,875.62 44,922..23
ปริมาณการเกิดของเสียไม่อันตราย ตัน 107,186.78 70,998.64 56,825.72 60,842.94
GRI 306-4 (2020) การจัดการของเสียทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด ตัน 56,295.13 39,978.85 36,283.15 43,709.87
การจัดการของเสียอันตรายทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด (ในพื้นที่) ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำกลับมาใช้ซ้ำ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำกลับมาใช้ใหม่ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ  ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียไม่อันตรายทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด (ในพื้นที่) ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำกลับมาใช้ซ้ำ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำกลับมาใช้ใหม่ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ  ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียอันตรายทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด (นอกพื้นที่) ตัน 8,514.57 12,585.33 11,755.75 8,489.75
• การนำกลับมาใช้ซ้ำ ตัน 30.45 134.29 26.39 87.73
• การนำกลับมาใช้ใหม่ ตัน 8,484.12 12,451.04 11,253.86 7,302.24
• การนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ  ตัน 0.00 0.00 475.50 1,099.79
การจัดการของเสียไม่อันตรายทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด (นอกพื้นที่) ตัน 47,780.56 27,393.52 24,527.40 35,220.12
• การนำกลับมาใช้ซ้ำ ตัน 98.54 480.98 285.24 115.24
• การนำกลับมาใช้ใหม่ ตัน 46,717.99 25,668.13 23,496.11 33,806.38
• การนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ  ตัน 964.04 1,244.41 746.05 1,298.50
GRI 306-5 (2020) การจัดการของเสียทั้งหมดในรูปแบบโดยวิธีการกําจัด ตัน 104,176.37 85,150.57 68,418.20 62,055.29
การจัดการของเสียอันตรายทั้งหมดในรูปแบบวิธีการกําจัด (ในพื้นที่) ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำพลังงานกลับคืนมา ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การเผา ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การฝังกลบอย่างปลอดภัย ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การกำจัดด้วยวิธีอื่น ๆ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• ไม่ทราบวิธีการกำจัด ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียไม่อันตรายทั้งหมดในรูปแบบวิธีการกําจัด (ในพื้นที่) ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การนำพลังงานกลับคืนมา ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การเผา ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การฝังกลบอย่างปลอดภัย ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การกำจัดด้วยวิธีอื่น ๆ ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• ไม่ทราบวิธีการกำจัด ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียอันตรายทั้งหมดในรูปแบบวิธีการกําจัด (นอกพื้นที่) ตัน 44,666.72 42,289.11 36,119.88 36,432.48
• การนำพลังงานกลับคืนมา ตัน 18,469.41 20,507.74 17,543.00 18,286.35
• การเผา ตัน 16,739.29 21,106.04 18,045.00 4,404.30
• การฝังกลบอย่างปลอดภัย ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
• การกำจัดด้วยวิธีอื่น ๆ ตัน 9,458.02 675.33 531.88 13,741.83
• ไม่ทราบวิธีการกำจัด ตัน 0.00 0.00 0.00 0.00
การจัดการของเสียไม่อันตรายทั้งหมดโดยวิธีการกําจัด (นอกพื้นที่) ตัน 59,509.64 42,861.46 32,298.32 25,622.81
• การนำพลังงานกลับคืนมา ตัน 1,879.46 3,930.23 2,189.69 3,207.64
• การเผา ตัน 2,334.98 2,184.24 2,102.64 3,497.45
• การฝังกลบอย่างปลอดภัย ตัน 29.30 0.00 0.00 0.00
• การกำจัดด้วยวิธีอื่น ๆ ตัน 55,265.90 36,746.99 28,005.99 18,917.72
• ไม่ทราบวิธีการกำจัด ตัน 23,917.02 20,481.57 0.00 0.00

หมายเหตุ:

 - ปริมาณของเสียที่รายงานรวมทั้งของเสียที่มาจากการดำเนินงานประจำและของเสียที่ไม่ได้มาจากการดำเนินงานประจำ
- ของเสียที่ไม่ได้มาจากการดำเนินงานประจำวัน ได้แก่ ของเสียที่เกิดจากกิจกรรมการก่อสร้างขนาดใหญ่ การจัดการการรั่วไหลของน้ำมันและสารเคมี และการจัดการเหตุฉุกเฉินและภาวะวิกฤต
- ปี 2565 มีปริมาณของเสียไม่อันตรายเพิ่มขึ้น เนื่องจากงานก่อสร้างโครงการ PTT GSPLM Phase II และโครงการ RTO
- ปี 2566 การจัดการของเสียทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด โดยการนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การหมักทำปุ๋ยและการนำวัสดุที่ไม่ใช้แล้วกลับคืนมาใหม่
- ปี 2566 และ 2567 การจัดการของเสียทั้งหมดในรูปแบบโดยวิธีการกําจัด โดยการกำจัดด้วยวิธีอื่นๆ ได้แก่ การหมักทำปุ๋ย (Composting) การถมที่ (Land reclamation) การคัดแยกประเภทเพื่อจำหน่ายต่อและส่งกำจัดโดยเทศบาล
- ปี 2566 มีการจัดการของเสียอันตรายทั้งหมดในรูปแบบที่ไม่ใช่วิธีการกําจัด ด้วยการนำกลับมาใช้ใหม่เพิ่มขึ้น คือ ของเสียประเภททรายขัดจากกิจกรรมซ่อมบำรุงถังน้ำมัน จัดการด้วยวิธีนำกลับมาใช้ประโยชน์อีกด้วยวิธีอื่นๆ
- ปี 2566 มีของเสียอันตรายที่จัดเก็บในพื้นที่ช่วงสิ้นปี เท่ากับ 32.9994 ตัน
- ปี 2566 การจัดการของเสียไม่อันตรายทั้งหมดโดยวิธีการกําจัด (นอกพื้นที่) ด้วยการจัดการด้วยวิธีอื่นๆ ประกอบด้วย การถมที่ (Land reclamation) และขยะมูลฝอย (Domestic/ municipal waste) คิดเป็นร้อยละ 56 และ 44 ตามลำดับ
- ปี 2567 มีของเสียอันตรายที่จัดเก็บในพื้นที่ช่วงสิ้นปี เท่ากับ 5.4512 ตัน
- ปี 2567 มีการจัดการของเสียไม่อันตรายที่ไม่ได้มาจากการดำเนินงานประจำ จากกิจกรรมของโครงการก่อสร้างภายในพื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง 6,341.82 ตัน ซึ่งถูกกำจัด (นอกพื้นที่) ด้วยการจัดการด้วยวิธีอื่นๆ โดยการถมที่ (Land reclamation)
- ปี 2567 การจัดการของเสียที่มาจากการดำเนินงานประจำประเภทของเสียไม่อันตรายทั้งหมด ซึ่งกําจัด (นอกพื้นที่) ด้วยการจัดการด้วยวิธีอื่นๆ ประกอบด้วย การหมักทำปุ๋ย (Composting) และขยะมูลฝอย (Domestic/ municipal waste) คิดเป็นร้อยละ 17 และ 83 ตามลำดับ




ข้อมูลสำหรับรายงานความยั่งยืน: พลังงาน (Energy), การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG Emissions), การปล่อยก๊าซมีเทน (Methane Emissions)

พลังงาน

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
ปตท.
GRI 302-1 (2016) การใช้พลังงานทั้งหมดภายในองค์กร กิกะจูล 45,622,646 42,357,415 40,984,556 43,419,001
การใช้พลังงานทางตรงทั้งหมด กิกะจูล 43,686,633 40,434,125 39,185,958 41,758,568
• การใช้พลังงานที่ใช้แล้วหมดไปทั้งหมด กิกะจูล 47,556,180 42,356,520 39,181,569 41,744,044
• การใช้พลังงานหมุนเวียนทั้งหมด กิกะจูล 2,479 895 4,389 14,523
-  โซลาร์เซลล์ กิกะจูล 2,479 895 4,389 14,523
การใช้พลังงานทางอ้อมทั้งหมด กิกะจูล 1,936,013 1,923,290 1,798,598 1,660,434
• กระแสไฟฟ้าที่ซื้อเข้ามาใช้ กิกะจูล 1,933,534 1,922,395 1,798,598 1,660,434
พลังงานที่ขายได้ กิกะจูล 0 0 0 0
• กระแสไฟฟ้าที่ขายได้ กิกะจูล 0 0 0 0
GRI 302-3 (2016) ความเข้มของการใช้พลังงานภายในองค์กร กิกะจูล 12 14
กลุ่ม ปตท.
GRI 302-1 (2016) การใช้พลังงานทั้งหมด  กิกะจูล 513,029,676 497,283,638 447,555,954.33 450,016,885.37
การใช้พลังงานทางตรงทั้งหมด (การควบคุมการดำเนินการของ ปตท.) กิกะจูล 499,360,062 488,366,722 438,308,581.72 439,516,803.59
• การใช้พลังงานสิ้นเปลืองทั้งหมด กิกะจูล 499,360,062 488,366,722 438,308,581.72 439,516,803.59
• การใช้พลังงานหมุนเวียนทั้งหมด กิกะจูล 2,479 75,170 131,799.17 234,634.05
การใช้พลังงานทางอ้อมทั้งหมด กิกะจูล 13,669,614 8,916,917 9,247,373 10,500,082
GRI 302-3 (2016) ความเข้มของการใช้พลังงานทางตรง
• การผลิตน้ำมันและก๊าซ กิกะจูลต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า 220,641 159,414 206,979 217,009
• โรงกลั่น กิกะจูลต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า 1.55 1.38 1.32 1.29
• ปิโตรเคมี กิกะจูลต่อล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเทียบเท่า 6.03 6.13 6.68 6.34

หมายเหตุ:

 ขอบเขตองค์กรของกลุ่ม ปตท. ในมุมมองการถือครองหุ้น ประกอบด้วยบริษัทในประเทศไทย ที่ ปตท. ถือหุ้นทางตรงมากกว่าร้อยละ 20 หรือถือหุ้นทางอ้อมรวมได้ร้อยละ 100
• การใช้พลังงานทางอ้อมของ ปตท. มาจากการซื้อไฟฟ้าจากสายส่งและไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ที่ติดตั้งในพื้นที่สถาบันนวัตกรรม, โรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอม, ระบบปฏิบัติการท่อส่งก๊าซธรรมชาติ, คลังก๊าซภาคตะวันออก, หน่วยงานก๊าซธรรมชาติสำหรับยานยนต์ และพื้นที่โครงการวังจันทร์วัลเลย์
• ปี 2567 ผลการดำเนินงานด้านการใช้พลังงานหมุนเวียน ของ ปตท. มีการใช้พลังงานเพิ่มขึ้นจากการติดตั้งโซลาร์เซลล์ ในพื้นทีปฏิบัติการ ประกอบด้วย พื้นที่ระบบปฏิบัติการท่อส่งก๊าซธรรมชาติ พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอม คลังก๊าซภาคตะวันออกและพื้นที่โครงการวังจันทร์วัลเลย์, ผลการดำเนินงานด้านการใช้พลังงานทางอ้อมเพิ่มขึ้น จากการซื้อไฟฟ้าจากภายนอกสำหรับกิจกรรมการเดินเครื่องเพิ่มความดันก๊าซธรรมชาติ ของสถานีเพิ่มความดันก๊าซ OCS4 ทั้งนี้ ยังคงมีการผลิตไฟฟ้าใช้เองภายในพื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง เพื่อทดแทนการซื้อไฟฟ้าจากสายส่งเช่นเดียวกับปีที่ผ่านมา ส่วนการใช้พลังงานทางตรง เพิ่มขึ้นเนื่องจากการเพิ่มกำลังการผลิตที่สอดคล้องกับปริมาณก๊าซธรรมชาติที่เข้าสู่โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง (Feed gas) เพิ่มขึ้น 13%
• การใช้พลังงานทางอ้อมของกลุ่ม ปตท. มาจากการซื้อไฟฟ้าจากสายส่งและไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ที่ติดตั้งและใช้งานในพื้นที่ของ ปตท., ปตท.สผ.,พีทีที โกลบอล เคมิคอล, ไออาร์พีซี, ไทยออยล์, โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่, พีทีทีแท๊งก์, เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ และ พีทีที แอล เอน จี
• ปี 2567 กลุ่ม ปตท. ขยายครอบคลุมการดำเนินงาน (Operational Boundary) GC Campus ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล, The EnCony และ อาคาร Enco Terminal ของ บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จำกัด และ LNG Map Ta Phut Terminal 2 (LMPT2) ของ บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จำกัด
• ปี 2566 ปตท. ขยายขอบเขตการรายงาน โดยรายงานครอบคลุมพื้นที่โครงการวังจันทร์วัลเลย์ ในส่วนของขอบเขตองค์กร (Organization Boundary) กลุ่ม ปตท. ขยายขอบเขตครอบคลุมการดำเนินงาน Envicco ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล ซึ่งเริ่มดำเนินการในปี 2566 ในส่วนของขอบเขต การดำเนินงาน (Operational Boundary) กลุ่ม ปตท. ขยายครอบคลุมการดำเนินกิจกรรมของ จี1/61 จี 2/61 (ใต้) และ Yadana ของ ปตท.สผ., GC Estate และ HDPE1 ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล, โรงงานผงผสม โรงงานเบเกอรี่, ศูนย์กระจายสินค้าคาเฟ่อเมซอน ของ บริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จํากัด (มหาชน)
• ปี 2565 พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ ยุติการดำเนินกิจการ
• ปี 2564 ค่าความเข้มของการใช้พลังงานของปิโตรเคมีปรับตัวขึ้นเนื่องจากความต้องการใช้ไฟสำหรับผลิต High Value Product ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล
• ข้อมูลปี 2561-2565 ของกลุ่มปตท. มีการปรับการคำนวณ เนื่องจาก
- มีการเพิ่มขอบเขตองค์กร (Organization Boundary) เนื่องจากการเข้าดำเนินการในพื้นที่ จี2 ของ ปตท. สผ. ในปี 2565, การขยายขอบเขตการรายงานครอบคลุม บริษัทในกลุ่มของไทยออยล์ (TLB, TOPSPP, TPX, LABIX) และพีทีที โกลบอล เคมิคอล (BPE, EOEG, GCL, GCME, GCMP, GCO, GCP, BPA, Phenol, GCS, ME I&II, NPS S&E, TPRC, TTT), ในประเทศไทยควบรวมกิจการของไทยออยล์และไทยออยล์ เพาเวอร์ ในปี 2564, การเข้าซื้อกิจการโรงงานผลิตไฟฟ้าและไอน้ำของ GLOW Group ของ โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ในปี 2562,
- มีการเพิ่มขอบเขตการดำเนินงาน (Operational Boundary) เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของการรายงาน โออาร์พี, เอชจีพี, การใช้พื้นที่สำนักงาน ENCO และ ระยอง, Lab, Innovation2, และ Workshop ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล, คลังและลานถังของไออาร์พีซี, แอลพีจีไซเลนเดอร์ สงขลา และศูนย์กระจากสินค้าน้ำมันหล่อลื่นบางปะกง ของบริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จํากัด (มหาชน)
- มีการเพิ่มเติมของกิจกรรมที่มีการเริ่มดำเนินการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในพื้นที่ พีทีที แอล เอน จีในปี 2563
• แหล่งที่มาของค่าการแปลงหน่วยความร้อนที่ใช้ เช่น IPCC 2006, และ API Compendium
• ข้อมูลการใช้พลังงานภายนอกองค์กรตาม GRI 302-2 Energy consumption outside of the organization ไม่รวมอยู่ในขอบเขตการรายงานด้านยั่งยืนของปตท.


การปล่อยก๊าซเรือนกระจก

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
ปตท.
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดภายในองค์กร (GHG Scope 1 และ GHG Scope 2) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 10,121,791 9,893,416 10,026,023 11,058,781
GRI 305-1 (2016) ก๊าซเรือนกระจกทางตรง (Scope 1) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 11,442,492 9,707,941 9,933,207 10,860,743
ก๊าซเรือนกระจกทางตรงแยกตามประเภทของแหล่งที่มา (การควบคุมการดำเนินการ)
GRI 305-2 (2016) ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมทั้งหมด
• ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (เชิงพื้นที่) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 234,746 224,816 183,013 183,244
• ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (เชิงตลาด) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 282,889 280,851 194,726 198,038
GRI 305-3 (2016) ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 74,020,821 70,728,078 73,663,595 71,547,670
• ประเภทที่ 5: ขยะจากกระบวนการผลิต ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A 3,550 5,576
• ประเภทที่ 6: การเดินทางเพื่อธุรกิจ ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A 3,205 2,850
• ประเภทที่ 11: การใช้ผลิตภัณฑ์เป็นเชื้อเพลิง ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 74,020,821 70,728,078 73,656,839 71,539,244
GRI 305-4 (2016) ความเข้มของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ความเข้มของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A 37 41
ความเข้มของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A 305 304
กลุ่ม ปตท.
GRI 306-1 (2020) ก๊าซเรือนกระจกทางตรง
การควบคุมการดำเนินการของ ปตท. ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 47,179,719 45,291,359 40,317,987 40,497,930
การปล่อยก๊าซ CO2 ทางชีวภาพ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A 6,525 10,651
GRI 305-2 (2016) ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม
การควบคุมการดำเนินการของ ปตท.
• ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (เชิงพื้นที่) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 1,115,078 650,981 862,920 952,082
• ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (เชิงตลาด) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 1,487,244 851,936 862,930 952,093
บริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น
• ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (เชิงพื้นที่) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A N/A N/A
• ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (เชิงตลาด) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 736,258 460,758 467,663 514,559
GRI 305-3 (2016) ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่นๆ 113,477,070 132,132,928 135,225,236 132,155,757
• ประเภทที่ 3: กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงและพลังงาน ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A 50,111 56,438
• ประเภทที่ 5: ขยะจากกระบวนการผลิต ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A 9,031 34,096
• ประเภทที่ 6: การเดินทางเพื่อธุรกิจ ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A 7,129 6,820
• ประเภทที่ 11: การใช้ผลิตภัณฑ์เป็นเชื้อเพลิง ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 113,477,070 132,132,928 134,259,269 131,124,585
• ประเภทที่ 12: การกำจัดซากผลิตภัณฑ์ที่องค์กรจำหน่าย ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า N/A N/A 899,696 933,818
GRI 305-4 (2016) ความเข้มของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
• การผลิตน้ำมันและก๊าซ ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อ
ล้านบาร์เรลน้ำมันเทียบเท่า
40,661 33,059 27,609 27,244
• โรงกลั่น ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อ
ล้านบาร์เรลน้ำมันดิบเข้ากลั่น
0.1586 0.1125 0.1132 0.1179
• ปิโตรเคมี ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อ
ปริมาณการผลิต
0.4866 0.5171 0.4081 0.3496
ความเข้มของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดำเนินกิจกรรมของ กลุ่ม ปตท. ทั้งทางตรงและทางอ้อม (Scope 1 และ 2)
• เป้าหมาย กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่าต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดืบ
≤ 87.6 ≤ 87.6 ≤ 87.7 ≤ 87.7
• ผลการดำเนินงาน กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่าต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดืบ
92.72 82.86 84.35 91.15
ความเข้มของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดำเนินกิจกรรมของ กลุ่ม ปตท.
ทั้งทางตรง ทางอ้อม และการเผาไหม้ผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิงที่ ปตท. จำหน่าย (Scope 1, 2 และ 3)
• เป้าหมาย กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่าต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดืบ
≤ 381 ≤ 381 ≤ 381 ≤ 381
• ผลการดำเนินงาน กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่าต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดืบ
398.97 398.38 336.81 330.26

หมายเหตุ:

 • ขอบเขตองค์กรของกลุ่ม ปตท. ในมุมมองการถือครองหุ้น ประกอบด้วยบริษัทในประเทศไทย ที่ ปตท. ถือหุ้นทางตรงมากกว่าร้อยละ 20 หรือถือหุ้นทางอ้อมรวมได้ร้อยละ 100
• ปี 2567 ผลการดำเนินงานด้านการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (Scope 1) ของ ปตท. เพิ่มขึ้น 9% โดยมีปัจจัยหลักมาจากก๊าซธรรมชาติที่เข้าสู่โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง (Feed gas) เพิ่มขึ้น 13% ในขณะที่ สัดส่วนของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเนื้อก๊าซธรรมชาติซึ่งเป็นวัตถุดิบตั้งต้นไม่แตกต่างจากปีก่อนหน้า
• ปี 2567 ผลการดำเนินงานด้านการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (Scope 2) ของ ปตท. เพิ่มขึ้น 2% ปัจจัยหลักมาจากการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นสำหรับกิจกรรมการเดินเครื่องเพิ่มความดันก๊าซธรรมชาติ ของสถานีเพิ่มความดันก๊าซ OCS4
• ปี 2567 ผลการดำเนินงานด้านการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (Scope 1) และทางอ้อม (Scope 2) ของ กลุ่ม ปตท. ไม่รวมข้อมูลของ GC ในต่างประเทศ ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีการปลดปล่อยประมาณ 0.31 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า และ 0.01 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าตามลำดับ (ซึ่งคาดการณ์จากข้อมูลการดำเนินกิจการในปี 2563)
- ปี 2567 ปตท. ปรับรูปแบบการจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกของระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ปตท. ในหมวดการรั่วไหล (Fugitive) เป็นการคำนวณรายอุปกรณ์ ประกอบกับการบริหารจัดการก๊าซมีเทนในพื้นที่ปฏิบัติการ ปตท. และได้ปรับการคำนวณย้อนหลัง ปี 2564 - 2566
• ปี 2567 ผลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ (Scope 3) ของ ปตท. ครอบคลุม ประเภทการใช้ผลิตภัณฑ์เป็นเชื้อเพลิง (use of sold product) ครอบคลุมเฉพาะกิจกรรมการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่ ปตท. จําหน่าย, ขยะจากกระบวนการผลิต (Waste generated in operations), และการเดินทางเพื่อธุรกิจ (Business travel) โดย scope 3 ประเภทการใช้ผลิตภัณฑ์เป็นเชื้อเพลิง (use of sold product) ลดลงโดยมีปัจจัยหลักมาจากปริมาณการขายน้ำมันเตาลดลง
• ปี 2567 ผลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ (Scope 3) ของกลุ่ม ปตท. ครอบคลุม ประเภทการใช้ผลิตภัณฑ์เป็นเชื้อเพลิง (use of sold product) กิจกรรมการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่ ปตท., พีทีที โกลบอล เคมิคอล, ไออาร์พีซี, ไทยออยล์ และ บริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จํากัด (มหาชน) จําหน่าย, ขยะจากกระบวนการผลิต (Waste generated in operations), การเดินทางเพื่อธุรกิจ (Business travel), กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงและพลังงาน (Fuel-energy related activities) จากการสูญเสียพลังงานจากการซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตนอกกลุ่ม ปตท. เพื่อใช้งาน, และการกำจัดซากผลิตภัณฑ์ที่องค์กรจำหน่าย (End-of-Life Treatment of Sold Product) จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีของพีทีที โกลบอล เคมิคอลและ ไออาร์พีซี
• ปี 2567 กลุ่ม ปตท. ขยายครอบคลุมการดำเนินงาน (Operational Boundary) GC Campus ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล, The EnCony และ อาคาร Enco Terminal ของ บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จำกัด และ LNG Map Ta Phut Terminal 2 (LMPT2) ของ บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จำกัด
• ปี 2567 ค่าความเข้มของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของโรงกลั่นปรับตัวขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตไฮโดรเจนของไทยออยล์ และการขยายกำลังการผลิตของโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงกลั่นและปรับปรุงคุณภาพน้ำมันดีเซลตามมาตรฐานยูโร 5 ของ ไออาร์พีซี
• ปี 2565 พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ ยุติการดำเนินกิจการ

• ปี 2562- 2564 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ (Scope 3) ประเภทการใช้ผลิตภัณฑ์เป็นเชื้อเพลิง (use of sold product) ของกลุ่ม ปตท. ครอบคลุมเฉพาะการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่ ปตท. และบริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จํากัด (มหาชน) จําหน่าย
- มีการเพิ่มขอบเขตองค์กร (Organization Boundary) เนื่องจากการเข้าดำเนินการในพื้นที่ จี2 ของ ปตท. สผ. ในปี 2565, การขยายขอบเขตการรายงานครอบคลุม บริษัทในกลุ่มของไทยออยล์ (TLB, TOPSPP, TPX, LABIX) และพีทีที โกลบอล เคมิคอล ( BPE, EOEG, GCL, GCME, GCMP, GCO, GCP, BPA, Phenol, GCS, ME I&II, NPS S&E, TPRC, TTT), ในประเทศไทยควบรวมกิจการของไทยออยล์และไทยออยล์ เพาเวอร์ ในปี 2564, การเข้าซื้อกิจการโรงงานผลิตไฟฟ้าและไอน้ำของ GLOW Group ของ โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ในปี 2562,
- มีการเพิ่มขอบเขตการดำเนินงาน (Operational Boundary) เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของการรายงาน โออาร์พี, เอชจีพี, การใช้พื้นที่สำนักงาน ENCO และ ระยอง, Lab, Innovation2, และ Workshop ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล, คลังและลานถังของไออาร์พีซี, แอลพีจีไซเลนเดอร์ สงขลา และศูนย์กระจากสินค้าน้ำมันหล่อลื่นบางปะกง ของบริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จํากัด (มหาชน)
- มีการเพิ่มเติมของกิจกรรมที่มีการเริ่มดำเนินการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในพื้นที่ พีทีที แอล เอน จีในปี 2563


การปล่อยก๊าซมีเทน

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
ปตท.
ปริมาณก๊าซมีเทนที่เกิดขึ้น (CH4) (การรั่วไหล การระบาย และการเผา) ลูกบาศก์เมตร 14,334,162 16,827,137 20,773,912 19,239,213
การปล่อยก๊าซมีเทนทางตรง (CH4) (แยกจากก๊าซเรือนกระจก) ตัน 9,684 11,369 13,862 12,998
GRI 305-1
Sector standard 11.1.5
ปริมาณไฮโดรคาร์บอนที่เผาไหม้ ล้านลูกบาศก์เมตร 108,938 76,440 75,671 110,463
ปริมาณไฮโดรคาร์บอนที่ระบายออก ล้านลูกบาศก์เมตร 16,932 13,363 11,125 14,851
กลุ่ม ปตท.
ปริมาณก๊าซมีเทนที่เกิดขึ้น (CH4) (การรั่วไหล การระบาย และการเผา)  ลูกบาศก์เมตร 70,722,618 65,739,031 69,236,333 65,128,507
การปล่อยก๊าซมีเทนทางตรง (CH4) (แยกจากก๊าซเรือนกระจก) ตัน 47,995 44,672 47,374 45,956
 GRI 305-1
Sector standard 11.1.5
ปริมาณไฮโดรคาร์บอนที่เผาไหม้ ล้านลูกบาศก์เมตร 1,366,608 1,307,370 1,434,862 1,279,547
ปริมาณไฮโดรคาร์บอนที่ระบายออก ล้านลูกบาศก์เมตร 16,932 13,363 11,125 14,851

หมายเหตุ:

 ปริมาณการปล่อยก๊าซมีเทน ครอบคลุม การรั่วซึม การปล่อยก๊าซจากกระบวนการผลิต (การแยกก๊าซธรรมชาติและการผลิตเอทิลีน) การรั่วไหลของก๊าซ และการเผาไหม้
•การปล่อยก๊าซมีเทนทางตรง ครอบคลุมปริมาณการปล่อยก๊าซมีเทน และการปล่อยก๊าซมีเทนจากกระบวนการเผาไหม้ต่างๆ
- ปี 2567 ปริมาณการปล่อยก๊าซมีเทนของ ปตท. ลดลง มีปัจจัยหลักมาจากการปรับรูปแบบการจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกของระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ปตท. ในหมวดการรั่วไหล (Fugitive) เป็นการคำนวณรายอุปกรณ์ ประกอบกับการบริหารจัดการก๊าซมีเทนในพื้นที่ปฏิบัติการ ปตท. และมีการปรับการคำนวณ ปี 2564 - 2567
- ปี 2567 กลุ่ม ปตท. ขยายขอบเขตการดำเนินงาน (Operational Boundary) ครอบคลุม GC Campus ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล, The EnCony และ อาคาร Enco Terminal ของ บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จำกัด และ LNG Map Ta Phut Terminal 2 (LMPT2) ของ บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จำกัด
- มีการเพิ่มขอบเขตองค์กร (Organization Boundary) เนื่องจากการเข้าดำเนินการในพื้นที่ จี1 ของ ปตท.สผ. ในปี 2566 จี2 ของ ปตท. สผ. ในปี 2565, การขยายขอบเขตการรายงานครอบคลุม บริษัทในกลุ่มของไทยออยล์ (TLB, TOPSPP, TPX, LABIX) และพีทีที โกลบอล เคมิคอล ( BPE, EOEG, GCL, GCME, GCMP, GCO, GCP, BPA, Phenol, GCS, ME I&II, NPS S&E, TPRC, TTT), ในประเทศไทยควบรวมกิจการของไทยออยล์และไทยออยล์ เพาเวอร์ ในปี 2564, การเข้าซื้อกิจการโรงงานผลิตไฟฟ้าและไอน้ำของ GLOW Group ของ โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ในปี 2562,
- มีการเพิ่มขอบเขตการดำเนินงาน (Operational Boundary) เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของการรายงาน โออาร์พี, เอชจีพี, การใช้พื้นที่สำนักงาน ENCO และ ระยอง, Lab, Innovation2, และ Workshop ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล, คลังและลานถังของไออาร์พีซี, แอลพีจีไซเลนเดอร์ สงขลา และศูนย์กระจากสินค้าน้ำมันหล่อลื่นบางปะกง ของบริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จํากัด (มหาชน)
- มีการเพิ่มเติมของกิจกรรมที่มีการเริ่มดำเนินการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในพื้นที่ พีทีที แอล เอน จีในปี 2563


ข้อมูลสำหรับรายงานความยั่งยืน: การรั่วไหล (Spills)

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
GRI 306-3 (2016) การรั่วไหลของน้ำมันและสารเคมี
จากการดำเนินงานของ ปตท.
• จำนวนการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• จำนวนการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
จากหน่วยงานภายนอก (การขนส่ง): การขนส่งโดยใช้รถบรรทุก
• จำนวนการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• จำนวนการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
จากหน่วยงานภายนอก (การขนส่ง): การขนส่งโดยเรือและเรือบรรทุก
• จำนวนการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• จำนวนการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
การรั่วไหลอย่างมีนัยสำคัญ (ปริมาณ ≥ 100 บาร์เรล)
จากการดำเนินงานของ ปตท.
• จำนวนการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• จำนวนการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
จากหน่วยงานภายนอก (การขนส่ง): การขนส่งโดยใช้รถบรรทุก
• จำนวนการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• จำนวนการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
จากหน่วยงานภายนอก (การขนส่ง): การขนส่งโดยเรือและเรือบรรทุก
• จำนวนการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00
• จำนวนการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน จำนวนครั้ง 0 0 0 0
• ปริมาณการรั่วไหลของสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน ลูกบาศก์เมตร 0.00 0.00 0.00 0.00

หมายเหตุ:

 • ปริมาณการรั่วไหลของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและสารประกอบที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน ครอบคลุมปริมาณการหกรั่วไหลในพื้นที่ปฏิบัติการ การขนส่งผลิตภัณฑ์ทางรถบรรทุกและเรือ สู่สิ่งแวดล้อมที่ปริมาณมากกว่า 1 บาร์เรลขึ้นไป โดย ปตท. ได้จัดการตามขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเกิดการหกรั่วไหล เพื่อควบคุมอย่างเร็วที่สุด และจำกัดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างทันท่วงที เช่น ใช้อุปกรณ์ในการล้อมและเก็บคราบน้ำมัน ทำให้สามารถควบคุมคราบน้ำมันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นบริเวณกว้าง


ข้อมูลสำหรับรายงานความยั่งยืน: การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Management)

GRI
ตัวชี้วัด
หน่วย
2564
2565
2566
2567
- นโยบายสิ่งแวดล้อม/ระบบบริหารจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อม 
เงินลงทุน ล้านบาท 170 132.5 184 208
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ ล้านบาท 289 311 308 384
ค่าใช้จ่ายทั้งหมด ล้านบาท 459 443.5 492 591
ค่าใช้จ่ายที่ลดลง ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ รายได้ ภาษี เป็นต้น ล้านบาท 205 512 312 136
ความครอบคลุมของการดำเนินงาน (คิดจาก รายได้ ปริมาณการผลิต หรือพนักงาน) ร้อยละ 100 100 100 100
GRI 2-27 การละเมิดกฎระเบียบทางด้านสิ่งแวดล้อม (การไม่ปฏิบัติตามที่มีนัยสำคัญ)
จำนวนข้อร้องเรียน จำนวนกรณี 0 0 0 0
จำนวนค่าปรับ บาท 0 0 0 0
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นด้านสิ่งแวดล้อมในงวดบัญชี บาท 0 0 0 0

หมายเหตุ:

• เงินลงทุนด้านสิ่งแวดล้อมเป็นเงินลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์ด้านสิ่งแวดล้อมเฉพาะของ ปตท. เท่านั้น
• ตั้งแต่ปี 2559 ปตท. พัฒนาวิธีการจัดกลุ่มค่าใช้จ่ายที่เข้าข่ายเป็นค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์มากขึ้นโดยมีความสอดคล้องกับมาตรฐาน Environmental Management Accounting Procedures and Principles ขององค์การสหประชาชาติ และปรับปรุงระบบการประมาณการผลตอบแทนจากการลงทุน
โดยอ้างอิงโครงการที่อยู่ภายใต้ระบบการเพิ่มผลผลิตของ ปตท.
• แม้ว่าจะมีการแยกสินทรัพย์ของ ปตท. และ OR ตั้งแต่เดือน กรกฏาคม 2561 เป็นต้นมา แต่สินทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 โดยในปี 2561 ปตท. รวบรวมเงินลงทุนใน "โครงการติดตั้งระบบลดการระบายก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจนแบบ Selective Catalytic Reduction (SCR) ที่หน่วยผลิตความร้อน แบบ Waste Heat Recovery Unit (WHRU) ของโรงแยกก๊าซธรรมชาติหน่วยที่ 5 โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง" ได้ครบถ้วนมากยิ่งขึ้น
• มีการปรับปรุงข้อมูล ค่าใช้จ่ายที่ลดลง ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ในปี 2562 จาก 288 ล้านบาท เป็น 298 ล้านบาท เพื่อความถูกต้องของข้อมูล
• ปี 2564 เงินลงทุนด้านสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการลงทุนติดตั้งโครงการระบบท่อรวบรวมน้ำเสียบริเวณพื้นที่วังจันทร์วัลเลย์ จังหวัดระยอง
• ปี 2566 มีค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น เนื่องจากการลงทุนติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และ EV charger ในพื้นที่ปฏิบัติการของ ปตท.


ขอบเขตของการรายงานข้อมูล

ความปลอดภัย

ขอบเขตการรายงาน
ปี
ธุรกิจของ ปตท.
(บริษัท flagship)
ธุรกิจของ กลุ่ม ปตท.
ปตท. ปี 2567 (ร้อยละ)
ความครอบคลุมของข้อมูลของ
อาคาร ปตท.

โรงแยกก๊าซธรรมชาติ

ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ​

คลัง

สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ

สำนักงานใหญ่

สถาบันนวัตกรรม ปตท.

คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว

คลังน้ำมันเชื้อเพลิง

กรณีที่เกือบเกิดอุบัติเหตุ พนักงานทั้งหมดและผู้รับเหมาทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
พนักงานทั้งหมดและผู้รับเหมาทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมดและผู้รับเหมาทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมดและผู้รับเหมาทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
อัตราการเจ็บป่วยจากการทำงาน (OIFR) พนักงานทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
การเสียชีวิต พนักงานทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
ผู้รับเหมา NR NR NR NR NR NR NR NR
พนักงานทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา NR NR NR NR NR NR NR NR
พนักงานทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา NR NR NR NR NR NR NR NR
พนักงานทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
อัตราการขาดงาน (AR) พนักงานทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
จำนวนอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน (LWC) พนักงานทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
อัตราการเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน (LDR) พนักงานทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
จำนวนผู้บาดเจ็บจากการทำงาน (TRIC) พนักงานทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
อัตราการบาดเจ็บ
(TRIR)
พนักงานทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
อัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (LTIFR) พนักงานทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
การบาดเจ็บที่มีผลกระทบสูงอันเนื่องมาจากการทำงาน พนักงานทั้งหมด 2567 . . . . . . . NR 100
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2566 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2565 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR
พนักงานทั้งหมด 2564 . . . . . . . NR
ผู้รับเหมา . . . . . . . NR

หมายเหตุ:

 • NR หมายถึง ไม่เกี่ยวข้องกับพื้นที่นั้น
 • สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ขอบเขตข้อมูลครอบคลุมเฉพาะที่ ปตท. เป็นเจ้าของและเป็นผู้ดำเนินการเองเท่านั้น ทั้งนี้ ชั่วโมงการทำงานครอบคลุมพนักงานทั้งหมด
 • ชั่วโมงการทำงานของสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ ขอบเขตครอบคลุมเฉพาะสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก (NGV Mother Station) เท่านั้น
 • คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว ครอบคลุม คลังสำหรับคลังก๊าซเขาบ่อยา คลังก๊าซบ้านโรงโป๊ะ และคลังน้ำมันเชื้อเพลิง ครอบคลุมคลังน้ำมันศรีราชา
 • บริษัท flagship ประกอบด้วย PTT, PTTEP, GC, OR, GPSC, IRPC, TOP 



สิ่งแวดล้อม

ขอบเขตการรายงาน 
ปี
ธุรกิจของ ปตท. 
(บริษัท flagship)
ธุรกิจของ กลุ่ม ปตท.
ปตท. ปี 2567 (ร้อยละ)
ความครอบคลุมของข้อมูลของ
อาคาร ปตท.

โรงแยกก๊าซธรรมชาติ

ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ

คลัง

สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง*

ปฏิบัติการหล่อลื่น*

การขนส่ง*

สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ

โรงคั่วกาแฟอเมซอน*

สำนักงานใหญ่

สำนักงานพระโขนง*

สถาบันนวัตกรรม ปตท.

สํานักงานบริการจัดจ่าย ระยอง*

คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว

คลังน้ำมันเชื้อเพลิง

สถานีเติมน้ำมันอากาศยาน*

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (Scope 1) 2567 . . . NA . . . . . . . . . . . 100
2566 . . . NA . . . . . . . . . . .
2565 . . . NA . . . . . . . . . . .
2564 . . . NA . . . . . . . . . . .
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (Scope 2) 2567 . . . NA . . . . . . . . . . . 100
2566 . . . NA . . . . . . . . . . .
2565 . . . NA . . . . . . . . . . .
2564 . . . NA . . . . . . . . . . .
การใช้พลังงานโดยตรง 2567 . . . . . . . . . . . . . . . 100
2566 . . . . . . . . . . . . . . .
2565 . . . . . . . . . . . . . . .
2564 . . . . . . . . . . . . . . .
กระแสไฟฟ้าที่ซื้อเข้ามาใช้ 2567 . . . . . . . . . . . . . . . 100
2566 . . . . . . . . . . . . . . .
2565 . . . . . . . . . . . . . . .
2564 . . . . . . . . . . . . . . .
น้ำที่ดึงมาใช้จากแหล่งน้ำภายนอก 2567 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR . 100
2566 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR .
2565 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR .
2564 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR .
น้ำเสียที่ระบายออกสู่สิ่งแวดล้อม  2567 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR NA 100
2566 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR NA
2565 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR NA
2564 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR NA
ของเสียที่กำจัด 2567 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR . 100
2566 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR .
2565 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR .
2564 . NR . NR . . . . NR NR NR NR . NR .
การรั่วไหลของน้ำมันและสารเคมี 2567 . NR . NR . . . . NR NR NR . . NR NA 100
2566 . NR . NR . . . . NR NR NR . . NR NA
2565 . NR . NR . . . . NR NR NR . . NR NA
2564 . NR . NR . . . . NR NR NR . . NR NA
ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) 2567 NR NR NR NR . . NR NR NR NR NR NR NR NR . 100
2566 NR NR NR NR . . NR NR NR NR NR NR NR NR .
2565 NR NR NR NR . . NR NR NR NR NR NR NR NR .
2564 NR NR NR NR . . NR NR NR NR NR NR NR NR .
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) 2567 NR NR NR NR . . NR NR NR NR NR NR NR NR . 100
2566 NR NR NR NR . . NR NR NR NR NR NR NR NR .
2565 NR NR NR NR . . NR NR NR NR NR NR NR NR .
2564 NR NR NR NR . . NR NR NR NR NR NR NR NR .
สารอินทรีย์ระเหย (VOCs) 2567 NR NR NR NR . . . . NR NR NR- NR NR NR . 100
2566 NR NR NR NR . . . . NR NR NR NR NR NR .
2565 NR NR NR NR . . . . NR NR NR NR NR NR .
2564 NR NR NR NR . . . . NR NR NR NR NR NR .
ปริมาณก๊าซมีเทน (CH4) ที่ปล่อยออกมา 2567 . . . . . . . . . . . . . NR . 100
2566 . . . . . . . . . . . . . NR .
2565 . . . . . . . . . . . . . NR .
2564 . . . . . . . . . . . . . NR .
การปล่อยก๊าซมีเทน (CH4) ทางตรง 2567 . . . . . . . . . . . . . NR . 100
2566 . . . . . . . . . . . . . NR .
2565 . . . . . . . . . . . . . NR .
2564 . . . . . . . . . . . . . NR .

หมายเหตุ:

 NA: ไม่มีข้อมูล
 NR: ไม่เกี่ยวข้องกับพื้นที่นั้น
* หมายถึง พื้นที่ธุรกิจของกลุ่ม ปตท.
 ธุรกิจของ กลุ่ม ปตท. ครอบคลุมขอบเขตข้อมูลภายใต้รูปแบบการควบคุมเชิงปฏิบัติการ ครอบคลุมบริษัทที่
 1. ปตท. ถือหุ้นทางตรงมากกว่าร้อยละ 20 และเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่หรือ
 2. ถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 100 รวมถึงบริษัทร่วมทุนที่มีสัดส่วนการถือหุ้นใหญ่เท่ากัน โดยก๊าซเรือนกระจกภายใต้บริษัทเหล่าน้ันครอบคลุมบริษัทที่ถือหุ้นทางตรงมากกว่าร้อยละ 20 และเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ หรือถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ  100 รวมถึงบริษัทร่วมทุนมีสัดส่วนการถือหุ้นใหญ่เท่ากันเช่นเดียวกัน